(0) PSU ไบโอดีเซล 55: กระบวนการเอสเตอริฟิเคชัน (Esterification)
กระบวนการเอสเตอริฟิเคชัน (Esterification) ส่วนกลั่นกรดไขมันปาล์ม (Palm fatty acid distillate) Cheah et al. (2010) แสดงความเห็นไว้ว่า PFAD เป็นสารป้อนที่มีศักยภาพและมีราคาต่ำที่จะผลิตเป็นไบโอดีเซลได้ โดยจะไม่อยู่ในประเด็น อาหาร vs. เชื้อเพลิง... more »
By
คนธรรมดา
created: 02 January 2012 06:56
Modified: 02 January 2012 06:56
[ Report Abuse ]
(0) PSUไบโอดีเซล 54: การให้ความร้อนด้วยการสร้าง cavitation
การให้ความร้อนด้วยการสร้าง cavitation คาวิเตชันคือการก่อเกิดและยุบตัวลงทันทีของ cavity ในของเหลว เช่นฟองแก๊ส อันจะเกิดจากการที่ของเหลวได้รับการเปลี่ยนแปลงความดันอย่างรวดเร็ว ซึ่งจะให้แรงสูงต่อของเหลว คาวิเตชันยังแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ inertial (... more »
By
คนธรรมดา
created: 29 December 2011 17:38
Modified: 29 December 2011 17:38
[ Report Abuse ]
(0) PSUไบโอดีเซล 53: การให้ความร้อนด้วยคลื่นไมโครเวฟ
การให้ความร้อนด้วยคลื่นไมโครเวฟ Barnard et al (2007) ทำการผลิตเมทิลเอสเตอร์แบบต่อเนื่อง ภายใต้ความดันบรรยากาศในถังปฏิกรณ์ขนาด 4 ลิตร อัตราการป้อน 7.2 ลิตร/นาที สัดส่วนเชิงโมลน้ำมัน/เมทานอลเท่ากับ 1: 6 พบว่าการใช้ไมโครเวฟจะมีประสิทธิภาพเชิงพลังง... more »
By
คนธรรมดา
created: 28 December 2011 17:37
Modified: 28 December 2011 17:37
[ Report Abuse ]
(0) PSUไบโอดีเซล 52: การลดกรดด้วยกระบวนการเอสเตอริฟิเคชัน
การลดกรดด้วยกระบวนการเอสเตอริฟิเคชัน การลดกรดด้วยกระบวนการเอสเตอริฟิเคชันจะทำให้ได้ผลได้สูงกว่าการทำสะเทิน เพราะกรดไขมันอิสระจะเปลี่ยนไปเป็นเอสเตอร์ซึ่งเป็นผลผลิตที่ต้องการ สถานวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนจากน้ำมันปาล์มและพืชน้ำมัน มหาวิทยาลัยสงข... more »
By
คนธรรมดา
created: 27 December 2011 16:58
Modified: 27 December 2011 16:58
[ Report Abuse ]
(6) PSUไบโอดีเซล 51: กระบวนการผลิตไบโอดีเซลจากสารป้อนคุณภาพต่ำ
กระบวนการผลิตไบโอดีเซลจากสารป้อนคุณภาพต่ำ สารป้อนคุณภาพต่ำที่นิยามไว้ในที่นี้คือ สารป้อนที่มีกรดไขมันอิสระสูงกว่า 1.5% ซึ่งควรใช้กรรมวิธี 2 ขั้นตอนในการผลิตเป็นไบโอดีเซล คือ เอสเตอริฟิเคชันในขั้นตอนแรกและทรานส์เอสเตอริฟิเคชันในขั้นตอนที่สอง ซึ่ง... more »
By
คนธรรมดา
created: 26 December 2011 16:08
Modified: 26 December 2011 16:08
[ Report Abuse ]
(0) PSU ไบโอดีเซล 50: อิทธิพลของการกวนผสมและตัวทำละลายร่วม
อิทธิพลของการกวนผสมและตัวทำละลายร่วม การกวนผสมนับเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญมากสำหรับปฏิกิริยาทรานส์เอสเตอริฟิเคชัน เพราะน้ำมันหรือไขมันที่นำมาใช้ในการผลิตไบโอดีเซลนั้นจะไม่ละลายเป็นเนื้อเดียวกันกับแอลกอฮอล์และตัวเร่งปฏิกิริยา ดังนั้นจึงต้องมีการกวน... more »
By
คนธรรมดา
created: 25 December 2011 14:12
Modified: 25 December 2011 14:12
[ Report Abuse ]
(0) PSU ไบโอดีเซล 49: อิทธิพลของอุณหภูมิและเวลาในการทำปฏิกิริยา
อิทธิพลของอุณหภูมิและเวลาในการทำปฏิกิริยา อุณหภูมิเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลกระทบต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จากกฎอัตรา rate = k [A]m[B]n โดยค่าคงที่อัตรา k ของปฏิกิริยาส่วนใหญ่จะเป็นไปตามสมการของอาร์เรเนียส (Arrhenius Equation) ... more »
By
คนธรรมดา
created: 24 December 2011 16:17
Modified: 24 December 2011 16:17
[ Report Abuse ]
(0) PSUไบโอดีเซล 48: ปริมาณของตัวเร่งปฏิกิริยา
ปริมาณของตัวเร่งปฏิกิริยา โดยนิยามแล้วตัวเร่งปฏิกิริยาจะไม่ถูกใช้จนหมดไป และมีปริมาณอยู่เท่าเดิม โดยการมีความเข้มข้นของตัวเร่งปฏิกิริยาที่สูง ย่อมทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึ้น ในเชิงอุตสาหกรรมนั้น หากสารป้อนมีคุณภาพสูง คือมีกรดไขมันอิสระต่ำ เ... more »
By
คนธรรมดา
created: 23 December 2011 09:52
Modified: 23 December 2011 09:52
[ Report Abuse ]
(4) PSU ไบโอดีเซล 47: อิทธิพลของอัตราส่วนเชิงโมลระหว่างแอลกอฮอล์ต่อน้ำมัน
จากแผนภาพการเกิดปฏิกิริยาข้างบน ปฏิกิริยาที่เกิดเร็วมากคือปฏิกิริยาทรานส์เอสเตอริฟิเคชัน และปฏิกิริยาสะพอนิฟิเคชัน แต่ปฏิกิริยานี้จะเริ่มลดลงเมื่อกรดไขมันอิสระที่เข้ามาพร้อมกับสารป้อนเหลือน้อยลง นอกจากนี้ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสของน้ำกับเอสเตอร์จะเกิ... more »
By
คนธรรมดา
created: 21 December 2011 20:22
Modified: 21 December 2011 20:22
[ Report Abuse ]
(0) PSU ไบโอดีเซล 46: อิทธิพลด้านจลนพลศาสตร์ของการเกิดปฏิกิริยาทรานส์เอสเตอริฟิเคชัน
การจำแนกประเภทในการแบ่งคุณภาพน้ำมันด้วยกรดไขมันอิสระนั้นมีข้อเสนอต่าง ๆ กัน เช่น FFA < 1.5% สามารถใช้ทำปฏิกิริยาทรานส์เอสเตอริฟิเคชันได้ทันที FFA ระหว่าง 1.5-4% ทำการลดกรดไขมันอิสระโดยการทำปฏิกิริยาสะเทินกับด่าง แล้วเข้ากระบวนการทรานส์เอ... more »
By
คนธรรมดา
created: 20 December 2011 21:49
Modified: 20 December 2011 21:49
[ Report Abuse ]